Skip to content
พระคุ้มครอง

วัตถุมงคล พระเครื่อง เครื่องราง คาถา สิ่งศักดิ์สิทธิ์

  • Home
  • ทำบุญ
  • ธรรมะ
  • คาถา
  • นิทาน
  • นำโชค
  • เรื่องผี
  • ตำนาน
  • หนังสือ
  • เรียกจิต
  • ประเพณี
  • ภาษาวัด
  • ทายนิสัย
  • พระเครื่อง
  • เครื่องราง
  • นานาสาระ
  • ยาสมุนไพร
  • พระสายกรรมฐาน
พระคุ้มครอง

วัตถุมงคล พระเครื่อง เครื่องราง คาถา สิ่งศักดิ์สิทธิ์

คำว่า “ลายเซ็น” เขียนแบบนี้ สะกดแบบนี้ ไม่ใช่เขียน “ลายเซ็นต์”

พระคุ้มครอง, 1 กันยายน 20211 กันยายน 2021
เห็นว่าบทความนี้มีประโยชน์ โปรดแชร์....

คำว่า “ลายเซ็น” เขียนแบบนี้ ไม่ใช่ "ลายเซ็นต์"
คำว่า “ลายเซ็น” เขียนแบบนี้ ไม่ใช่ “ลายเซ็นต์”

“ลายเซ็น” ไม่ใช่ “ลายเซ็นต์”

“ลายเซ็น” หมายถึง “ลายมือชื่อ” คือชื่อหรือสัญลักษณ์แทนชื่อของบุคคลซึ่งบุคคลนั้นลงไว้ในหนังสือหรือเอกสารเพื่อรับรองหรือเพื่อแสดงว่าตนเป็นผู้ทำหนังสือหรือเอกสารนั้น ๆ และหมายความรวมถึงลายพิมพ์นิ้วมือและเครื่องหมายอื่น ๆ ซึ่งบุคคลนั้นได้ลงไว้แทนลายมือชื่อของตนอีกด้วย

คำว่า “ลายเซ็น” แปลงมาจากคำศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “sign” มักสะกดผิดเป็น “ลายเซ็นต์” ที่สะกดผิดอาจเป็นเพราะไปเทียบเคียงกับคำอื่นที่คุ้นเคย เช่น เปอร์เซนต์ ที่มาจากคำว่า percent


เห็นว่าบทความนี้มีประโยชน์ โปรดแชร์....

บทความที่เกี่ยวข้อง

“มัคทายก” กับ “มัคนายก” คำไหนถูก ? มีความหมายว่าอย่างไร คำไทยที่มักเขียนผิด เพราะเหตุใดยอมรับเลยว่าเขียนผิดบ่อย ๆ เพราะเหตุใด คำไทยที่มักเขียนผิด โรคโควิด (covid-19) ภาษาบาลี โควิโท อสาธารณนามโรคโควิด (covid-19) ภาษาบาลี โควิโท อสาธารณนาม “เผยแผ่” กับ “เผยแพร่” ใช้ต่างกันอย่างไรความหมายของ “เผยแผ่” กับ “เผยแพร่” ใช้ต่างกันอย่างไร
ภาษาวัด ภาษาไทย ภาษาวัดภาษาไทย

แนะแนวเรื่อง

Previous post
Next post

สวัสดียามเช้า พระคุ้มครอง

  • คลิป VIDEO
  • คอมพิวเตอร์
  • คาถา
  • ดาวน์โหลด
  • ตำนาน
  • ธรรมะคุ้มครอง
  • นานาสาระ
  • นิทาน
  • นิสัยใจคอ
  • บ้านและสวน
  • ประเพณี
  • พระสายกรรมฐาน
  • พระเครื่อง
  • ภาษาวัด ภาษาไทย
  • ยาสมุนไพรโบราณ
  • วัดธรรมยุตในต่างประเทศ
  • ส่งคำอวยพร
  • สังฆทาน
  • สิ่งนำโชค
  • สุขภาพ
  • อาชีพและครอบครัว
  • เครื่องราง
  • เรียกจิต
  • เรื่องผี
  • แนะนำหนังสือ
  • แบ่งปัน
  • ไม้ประดับ ไม้มงคล

เว็บไซต์แห่งนี้ นำเสนอบทความเกี่ยวกับ วัตถุมงคล พระเครื่อง เครื่องราง มนต์คาถา พิธีกรรมต่าง ๆ
ซึ่งทั้งหมด เป็นที่พึ่งทางจิตใจ เป็นความรู้ เป็นความเชื่อที่สืบทอดต่อกันมา
ทางเราไม่อาจจะพิสูจน์ได้ว่า ความเชื่อเหล่านั้นเป็นจริงหรือไม่
ผู้เขียนบทความ ไม่อาจจะรับรองความเชื่อนั้นว่าจะได้ผลจริง หากท่านนำไปปฏิบัติตาม
หน้านโยบายความเป็นส่วนตัว

บทความต่าง ๆ บนเว็บไซต์นี้ แม้ทางเรานำเสนอโดยการศึกษาจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ จึงมาเขียน ฉะนั้น ไม่อนุญาตให้คัดลอกบทความโดยพยัญชนะ